![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEhVBD5AGLbA3N0cb6bpZl_2nKk_RqHMfxzk8zz1dGCcBuq6pI4nUuVLvEHzZ8tER-LdUYbHh9CPl-j3-tMA7JIh3bGphKt8lNuXBCzvfHyMwhCYatWrcMtiBJDAV6V6eMyAWG8Q5rNtTJ0/s320/Slide1.jpg)
- ศึกษาเทคโนโลยีการจัดการธาตุอาหารปาล์มน้ำมันลูกผสมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ |
- การทดสอบพันธุ์และเทคโนโลยีกับปาล์มน้ำมันในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง (จ.ศรีสะเกษ) |
- การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้เขาพระวิหารเพื่อการขยายพันธุ์ |
- การเปรียบเทียบพันธุ์สบู่ดำ |
- สำรวจ รวบรวม และศึกษาเชื้อพันธุกรรมพืชกลุ่มไม้ผลที่สำคัญจากแหล่งพันธุกรรมท้องถิ่น (on farm) และสภาพถิ่นเดิม (In situ) ได้แก่ ส้ม |
- สำรวจ รวบรวม และศึกษาเชื้อพันธุกรรมพืชกลุ่มไม้ผลจากแหล่งผลิตพันธุกรรมท้องถิ่น (on farm) และสภาพถิ่นเดิม (In situ) จำนวน 3 การทดลอง ได้แก่ ไม้ผลพื้นเมือง ไม้ผลเมืองร้อน มะะกอกน้ำมัน |
- สำรวจ รวบรวม และศึกษาเชื้อพันธุกรรมพืชกลุ่มไม้ดอกไม้ประดับจากแหล่งพันธุกรรมท้องถิ่น (on farm) และสภาพถิ่นเดิม (In situ) ไม้หอมและไม้ดอกไม้ประดับ จำนวน 2 การทดลองได้แก่ ไม้หอม บัว |
- สำรวจ รวบรวม และศึกษาเชื้อพันธุกรรมพืชกลุ่มผักพื้นเมืองจากแหล่งพันธุกรรมท้องถิ่น (on farm) และสภาพถิ่นเดิม (In situ ได้แก่ ผักพื้นเมือง |
- การศึกษาจำแนกลักษณะพันธุกรรมโดยสัณฐานวิทยาของพืชกลุ่มไม้ผลสำคัญ และพืชกลุ่มไม้ผล จำนวน 2 การทดลอง ได้แก่ ไม้ผลต่างประเทศ มะละกอ |
- การศึกษาจำแนกลักษณะพันธุกรรมโดยสัณฐานวิทยาของพืชสวนอุตสาหกรรม ในแปลงรวบรวมพันธุ์ (Ex situ) และสภาพถิ่นเดิม (In situ) ได้แก่ มะม่วงหิมพานต์ |
- การจำแนกลักษณะพันธุกรรมโดยสัณฐานวิทยาของพืช กลุ่มไม้ดอกไม้ประดับที่มีศักยภาพในการแข่งขัน ในแปลงรวบรวมพันธุ์และพืชไม้ดอกไม้ประดับ ในแปลงรวบรวมพันธุ์ (Ex situ) และสภาพถิ่นเดิม (In situ) จำนวน 3 การทดลอง ได้แก่ กล้วยไม้สกุลหวาย แวนด้า และรองเท้านารี, มะลิ และบัว |
- การศึกษาจำแนกลักษณะพันธุกรรมโดยสัณฐานวิทยาของกลุ่มพืชสมุนไพร/พืชหายากในแปลงรวบรวมพันธุ์ (Ex situ) และสภาพถิ่นเดิม (In situ) ได้แก่ สมุนไพร |
- ศึกษา รวบรวมสายพันธุ์พืชสมุนไพรที่เป็นอาหารเสริมสุขภาพและสร้างสารต้านอนุมูลอิสระ ได้แก่ กระเจี๊ยบแดง |
- การปรับปรุงพันธุ์พริกขี้หนูพันธุ์จินดา (ทดสอบพันธุ์) |
- การปรับปรุงพันธุ์พริกพันธุ์ขี้หนูเลย (การเปรียบเทียบพันธุ์) |
- การปรับปรุงพันธุ์พริกขี้หนูพันธุ์ยอดสน (การเปรียบเทียบพันธุ์) |
- การผสมพันธุ์และคัดเลือกพันธุ์พริกลูกผสมจินดา |
- การบริหารจัดการโรคใบหงิกเหลืองของพริก |
- การทดสอบพันธุ์มันเทศเพื่อการอุตสาหกรรมผลิตแป้งและเอทานอล (2 ฤดูกาลปลูก) |
- การทดสอบพันธุ์มันเทศเพื่อการบริโภคสด (2 ฤดูกาลปลูก) |
- ศึกษาการใช้วัสดุบำรุงดินที่เหมาะสมในการเพิ่มผลผลิตและคุณภาพมันเทศในเขตดินทราย |
- ศึกษาการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตการบังคับมะกอกน้ำมันให้ออกดอก |
- วิจัยและพัฒนาพันธุ์กล้วยไม้สกุลหวาย และกล้วยไม้สกุลนางอั้วและสกุลม้าวิ่ง |
- การคัดเลือกสายพันธุ์เบญจมาศในแต่ละรุ่น |
- ศึกษารูปแบบแปลงสาธิตการจัดการการผลิตการจัดการศัตรูพืชที่เหมาะสมในการปลูกส้มปลอดโรคในพื้นที่ จ.ศรีสะเกษ |
- การทดสอบพันธุ์องุ่นจากต่างประเทศ |
- การคัดเลือกพันธุ์มะม่วงลูกผสมสายพันธุ์ใหม่เพื่อการส่งออกและการแปรรูป |
- ปรับปรุงพันธุ์มะละกอแขกนวล |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น